วันศุกร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2558

แบบทดสอบ

แบบทดสอบ


สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์
1. สารอินทรีย์ทุกชนิดจะต้องมีธาตุใดอยู่ด้วยเสมอ

ธาตุไนโตรเจน                                    ขธาตุไฮโดรคาร์บอน

ธาตุคาร์บอน                                       งธาตุซิลิกอน

2. ยูเรียเป็นสารอินทรีย์ซึ่งส่วนใหญ่พบในปัสสาวะของสัตว์ชนิดใด
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก                    ขสัตว์เลื้อยคลาน

สัตว์ปีก                                               งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

3. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของไฮโดรคาร์บอนได้ถูกต้อง
สารอินทรีย์ที่คาร์บอนไม่ได้ต่อกันเป็นวง

สารอินทรีย์ที่คาร์บอนต่อกันเป็นวง

สารอินทรีย์ที่มีคาร์บอนต่อกันเป็นวงโดยมีวงแหวนเบนซีนเป็นโครงสร้าง

สารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจนเท่านั้น

4  เป็นสารอินทรีย์ที่มีหมู่ใดอยู่ในโมเลกุล

 -NH 2                                                  . NH 2
   CH3                                                   . CH4
 5. สารอนินทรีย์ประกอบด้วยธาตุชนิดใดบ้าง
. S , O , Cl , Na , Mg , Al  และ C          . H , Li , K   และ Mn
. F , Be , Rb และ Pb                              . Cs , Fr , Rh และ Se


สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์

สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์
                 สารอินทรีย์  หมายถึง สารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก และมีธาตุอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบร่วม เช่น ธาตุ H , O, N, P, S, Cl, และ Br  เป็นต้น ดังนั้นสารอินทรีย์ทุกชนิดจะต้องมีธาตุ C  อยู่ด้วยเสมอ จึงกล่าวได้ว่าสารอินทรีย์ คือสารประกอบของคาร์บอน เดิมนักเคมีเชื่อว่าสารอินทรีย์จะต้องเกิดจากสิ่งมีชีวิตเท่านั้น อาจจะเกิดอยู่ในธรรมชาติหรือสังเคราะห์จากสารอินทรีย์ด้วยกันแต่จะสังเคราะห์จากสารอนินทรีย์ไม่ได้จนกระทั่งประมาณปี ค.. 1776  Carl Wilhelm Scheele นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนจึงสามารถจึงวิเคราะห์สารอินทรีย์จากสารอนินทรีย์ได้โดยการเตรียมกรดออกซาลิกจากปฏิกิริยาระหว่างกรดไนตริกเข้มข้นกับน้ำตาลอ้อย แต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรับกันมากนัก   

คุณรู้จักเคมีอินทรีย์ดีหรือยัง


https://www.facebook.com/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B8%B5-%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A7-1432383023692397/timeline/

เคมีอินทรีย์

เคมีอินทรีย์เน้น พวก C และ็ H เป็นสำคัญ เนื่องจากคาบอน หาพบได้ง่ายคือสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเราแล้วภายในตัวของเราเช่นกัน รองลงมาคือ O และ N รองลงมาอีกคือ S และ F  
ธาตุคาร์บอนเป็นธาตุที่พบมากที่สุดในโลก
   ปฏิกิริยาการเผาไหม้     ** สารอินทรีย์+O2 ได้ CO2 กับ H2O
มี O2 เพียงพอ เรียกว่าการเผ่าไหม้สมบูรณ์
มี O2 ไม่เพียงพอเรียกว่าการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์
เขม่า เกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์
แรงทางเคมีมี 2 ชนิด
คือ 1. แรงภายในโมเลกุล (First Force) - ใช้อธิบายสมบัติทางเคมี
     2. แรงภายนอกโมเลกุล (Second Force) - ใช้อธิบายสมบัติทางกายภาพ

แรงภายในมี   มี 3 ชนิด คือ 
              1. พันธะไอออนิก
              2. พันธะโควาเลน
              3. พันธะโลหะ
แรงภายนอกมี มี 2 ชนิด คือ
            1. แรงแวนเดอวาลล์ - แรงที่ขึ้นอยู่กับมวล
               1.1 แรงลอนดอล หรือ แรงแผ่กระจาย(Dispersion Force) สารที่ไม่มีขั้ว                     
               1.2 แรงดีโพลดีโพล สารที่มีขั้ว
            2. พันธะไฮโดรเจน - แรงที่ไม่ขึ้นกับมวล
**สารได้ที่มีพันธะไฮโดรเจน จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง
การเดือด คือ การทำลัยแรงระหว่างโมเลกุล
   **การเดือดเป็นการทำลายพันธะไฮโดรเจน
การตัดสินจุดเดือดจุดหลอมเหลวว่าสูงหรือต่ำ ให้ดูจากแรงยึดระหว่างตัวเองกับตัวเอง
การตัดสินการละลายว่าสูงหรือต่ำ ให้ดูจากแรงยึดระหว่างตัวเองกับตัวทำละลาย


วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558

เคมีอินทรีย์เบื้องต้น

เคมีอินทรีย์ (organic chemistry) เป็นสาขาหนึ่งของการศึกษาวิชาเคมี ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการดำรงชีวิต เนื่องจากสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราส่วนใหญ่จัดเป็นสารอินทรีย์ เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค เครื่องสำอาง เชื้อเพลิง ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งแหล่งที่กำเนิดสารอินทรีย์ส่วนใหญ่เกิดจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ดังนี้
 
           ในสมัยแรกๆ นักวิทยาศาสตร์แบ่งสารเคมีออกเป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ สารอนินทรีย์เป็นสารประกอบของธาตุต่างๆ ส่วนสารอินทรีย์เป็นสารประกอบที่ได้จากสิ่งมีชีวิต     
        
ต่อมาในปี พ.ศ. 1828 ฟรีดริช เวอเลอร์ สามารถสังเคราะห์ยูเรียได้จากสารอนินทรีย์ ดังสมการ 
 
           หลังจากนั้นทำให้คำจำกัดความของสารอินทรีย์เปลี่ยนไป สารอินทรีย์ คือ สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหลัก ยกเว้นสารประกอบคาร์บอนบางชนิด เช่น สารประกอบออกไซด์ คาร์บอเนต ไฮโดรเจนคาร์บอเนต ฯลฯ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสารอินทรีย์ เรียกว่า "เคมีอินทรีย์"